Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
General Education Program, Faculty of Humanities and Social Sciences
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS430001
ภาษาไทย
Thai name
การเรียนรู้โดยการใช้ชุมชนเป็นฐาน
ภาษาอังกฤษ
English name
COMMUNITY-BASED LEARNING
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์บัวพันธ์ พรหมพักพิง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานะ นาคำ
    • รองศาสตราจารย์วิภาวี กฤษณะภูติ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์อภิรดี วงศ์ศิริ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทรพร วีระนาคินทร์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
      • นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      แนวคิด วิธีการเรียนรู้จากชุมชน วิธีการปรับตัวและการเข้าหาชุมชน การจัดกระบวนการชุมชนเพื่อการเรียนรู้ การเข้าร่วมใช้ชีวิตในชุมชนเพื่อศึกษาเรียนรู้ การดำเนินชีวิต การทำกิจกรรม ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Concept and methods of community-based learning, approaching and adjusting to community, community processes for learning, engaging and participating in way of life community about problems and methods for solving problems.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
        รูปแบบการจัดการเรียนรู้
        Learning management Method
        • Project-based learning
        • Community based learning
        7. แผนการจัดการเรียนรู้
             Lesson plan
        สัปดาห์ที่
        Week
        หัวข้อการสอน
        Teaching topics
        จํานวน
        ชั่วโมง
        Number of hours
        CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
        Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
        ทฤษฎี ปฏิบัติ
        1-2 - ชี้แจงเงื่อนไขรายวิชา และให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตั้งกฎกติกาของชั้นเรียน ขอบข่ายของรายวิชา
        - สำรวจความคาดหวังของนักศึกษาและทดสอบความรู้พื้นฐาน (Pre-test)
        หน่วยที่ 1 แนวคิดและหลักการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        1.1 ความหมายและความสำคัญของการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        1.2 หลักคิดและปรัชญาการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        1.3 แนวคิดและหลักการการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        6
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน
        - ชี้แจงรายละเอียดขอบข่ายเนื้อหาวิชา และกระบวนการเรียนการสอน และการใช้งาน KKU e-Learning
        - นำเข้าสู่บทเรียน
        - สอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
        - ให้นักศึกษาทำกิจกรรมความคาดหวังจากรายวิชา โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
        - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
        - แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อทำงานร่วมกันตามใบงานที่ 1
        สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
        (1) เอกสารออนไลน์ขอบข่ายรายวิชาและกำหนดการเรียนการสอน
        (2) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
        (3) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 1 ในระบบ KKU e-Learning
        (4) ใบงานที่ 1 ใบงานที่ 1 อภิปรายความคาดหวังในการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (งานกลุ่ม) ผ่าน Application Proprof
        3 หน่วยที่ 2 โครงสร้างและลักษณะของชุมชนไทย
        2.1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับชุมชน
        2.2 โครงสร้างทั่วไปของชุมชน
        2.3 พัฒนาการและประวัติศาสตร์ของชุมชน
        2.4 สภาพชุมชนไทยในปัจจุบัน
        3
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน- เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
        - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
        - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปของไทย โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
        - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ผ่าน Application Kahoot
        - มอบหมายงานตามใบงานที่ 2
        สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
        (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
        (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 2 ในระบบ KKU e-Learning
        (3) ใบงานที่ 2 อภิปรายกลุ่มในประเด็นหลักคิดและปรัชญาการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน พร้อมนำเสนอออนไลน์ โดยใช้สื่อประกอบ (งานกลุ่ม) ผ่าน Application Proprof
        4 หน่วยที่ 3 วิธีการและเครื่องมือในการเรียนรู้ชุมชน
        4.1 การสนทนากลุ่ม การสังเกต และการสัมภาษณ์
        4.2 การทำแผนที่เดินดิน เพื่อเรียนรู้สภาพชุมชน
        4.3 การทำผังเครือญาติ
        4.4 การทำปฏิทินชุมชน
        4.5 การทำกรณีศึกษา
        4.6 การทำเส้นเวลา (Timeline) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน
        4.7 การวิเคราะห์ทุนชุมชน
        3
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน
        - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
        - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
        - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวิธีการและเครื่องมือในการหาความรู้ในชุมชน โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
        - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
        - มอบหมายงานตามใบงานที่ 3
        สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
        (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
        (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 3 ในระบบ KKU e-Learning
        (3) ใบงานที่ 3 ฝึกปฏิบัติเพื่อใช้เครื่องมือในการเรียนรู้ชุมชนตามฐานต่าง ๆ (งานเดี่ยว)

        5 หน่วยที่ 4 บทบาทขององค์กรภาคประชาสังคม /องค์กรไม่แสวงกำไรและการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับองค์กรภาคประชาสังคม/องค์กรไม่แสวงกำไร
        4.2 บทบาทขององค์กรภาคประชาสังคม/องค์กรไม่แสวงกำไรสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

        3
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน
        - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
        - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
        - อภิปรายร่วมกับนักศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับองค์กรภาคประชาสังคม โดยให้แสดงความคิดเห็นผ่าน Application Proprof
        - สรุปเนื้อหาและทวนสอบความรู้ในเนื้อหาแต่ละหน่วย โดยกิจกรรมถามตอบ ผ่าน Application Kahoot
        - มอบหมายงานตามใบงานที่ 4
        สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
        (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
        (2) เอกสารคำสอนหน่วยที่ 4 ในระบบ KKU e-Learning
        (3) วิดิทัศน์ อ.ป๋วย
        (4) ใบงานที่ 4 เขียน Block เรื่อง องค์กรภาคประชาสังคมที่ฉันรู้จัก (งานเดี่ยว)

        6-13 หน่วยที่ 5 การจัดกระบวนการชุมชนเพื่อการเรียนรู้
        5.1 การออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        5.2 การใช้ชีวิตในชุมชนและการบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน
        5.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชุมชน
        5.4 การศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
        5.5 การจัดทำรายงานการเรียนรู้ในชุมชน
        24
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน
        - เริ่มกระบวนการเรียนการสอนผ่าน KKU e-Learning
        - นำเข้าสู่บทเรียนและสอนโดยวิธีบรรยายผ่าน Google Meet
        - ศึกษาชุมชนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม ประกอบการบรรยายในพื้นที่จริง
        - แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อใช้ชีวิต ทำกิจกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ชุมชนและทำงานร่วมกัน
        - มอบหมายงาน รายงานการศึกษาชุมชน
        - ผู้เรียนดำเนินการโครงการวิจัยตามการเรียนรู้แบบ RBL ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของหน่วยนี้
        สื่อ/เอกสารและช่องทางการสอน
        (1) PowerPoint ประกอบการบรรยายผ่าน Google Meet
        (2) การติดตามผลงานในระบบ KKU e-Learning
        14-15 สรุปและนำเสนอรายงานผลการศึกษาชุมชน 6
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        กิจกรรมการเรียนการสอน
        - นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม การศึกษาชุมชนตามประเด็นที่ตนสนใจผ่านสื่อด้วยระบบออนไลน์
        รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
        8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
             Course assessment
        วิธีการประเมิน
        Assessment Method
        CLO สัดส่วนคะแนน
        Score breakdown
        หมายเหตุ
        Note
        การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        10 การเข้าร่วมกิจกรรมผ่านระบบ KKU e-Learning
        ใบงานที่ 1-4
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        20 ส่งผ่านระบบ KKU e-Learning
        Field Note
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        15 Block Online
        รายงานการศึกษาชุมชน
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        25 ส่งสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนผ่านระบบ KKU e-Learning
        การสอบปลายภาค
        • K1: นักศึกษาเข้าใจแนวคิด กระบวนการ และเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
        • S1: นักศึกษาเข้าใจขั้นตอน กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือ สำหรับการเรียนรู้ชุมชน และสามารถนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชุมชนได้
        • S2: นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้และสามารถแสวงหาความรู้เกี่ยวกับชุมชนด้วยตนเอง
        • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
        30 Online Examination
        สัดส่วนคะแนนรวม 100
        9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
             Textbook and instructional materials
        ประเภทตำรา
        Type
        รายละเอียด
        Description
        ประเภทผู้แต่ง
        Author
        ไฟล์
        File
        หนังสือ หรือ ตำรา เดวิต บอร์นสตีน, เจริญเกียรติ ธนสุขภาวร และวิไล ตระกูลสิน (แปล). (2551). ผู้ประกอบการสังคม. กรุงเทพฯ : แพลนปริ้นติ้ง จำกัด.
        หนังสือ หรือ ตำรา ปรีดา เรืองวิชาธร. (2551). งาน พลังกลุ่ม และความสุข : แนวทางการบริหารแบบพุทธสำหรับองค์กรเปลี่ยนแปลงสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา.
        หนังสือ หรือ ตำรา ชิเกฮารุ ทานาเบ. (2551). ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ :กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).
        หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล สกุณี อาชวานันทกุล (แปล). 2551. นายธนาคารเพื่อคนจน. กรุงเทพฯ : มติชน.
        10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
             Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
        Evaluation of course effectiveness and validation
        • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
        • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
        • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
        การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
        Improving Course instruction and effectiveness
        • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
        • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)