Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
Sociology
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS477996
ภาษาไทย
Thai name
ดุษฎีวิทยานิพนธ์
ภาษาอังกฤษ
English name
DISSERTATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
48(0-0-0)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ศาสตราจารย์ดุษฎี อายุวัฒน์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชรินทร์ ลาภานันท์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
    • สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
    • มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
    • ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      การทำวิจัยและการเขียนรายงานวิจัย เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา โดย ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง อันนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่ ที่สามารถ ประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Research and report on a specific topic in sociology with the applications of advanced social research methodology with contributes to new knowledge that can be applied for policy formulation and social problem solving.
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      • Work integrated learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-3 ภาคการศึกษาที่ 1
      - แนะนำการเรียน สิ่งที่พึงรู้พึงปฏิบัติ ข้อตกลงการเรียน และการวัดและประเมินผล - แนะนำระเบียบ หลักเกณฑ์ ประกาศที่เกี่ยวข้อง - การค้นคว้าวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดหัวข้อ/ ประเด็นวิจัยสำหรับดุษฎีนิพนธ์
      81
      • K1: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ
      - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม

      สื่อ
      - คู่มือการทำวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัยและคณะ
      - ประกาศ/ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

      วิธีการประเมิน
      - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน
      - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะในคำปรึกษา
      - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำตามเกณฑ์กำหนด
      4-6 - การพัฒนาร่างเค้าโครงงานวิจัยส่วน “บทนำ” (กำหนดปัญหาการวิจัย ภูมิหลัง/ความสำคัญ คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ ประโยชน์และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับการเขียน “บทนำ”) 81
      • K1: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ
      - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
      - การให้นักศึกษาเรียบเรียง “บทนำ” ของเค้าโครงงานวิจัย

      สื่อ
      - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - ตัวอย่างบทความปริทัศน์

      วิธีการประเมิน
      - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน
      - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะในคำปรึกษา
      - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำตามเกณฑ์กำหนด
      7-10 - การค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
      - การเรียบเรียงเนื้อหาในส่วน “ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ของเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      108
      • K1: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      - การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การชี้แนะให้คำปรึกษา การมอบหมายงานให้ดำเนินการ
      - การให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ วิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
      - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์


      สื่อ
      - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - ตัวอย่างบทความปริทัศน์

      วิธีการประเมิน
      - ประเมินจากพฤติกรรมการทำงาน
      - ประเมินความรู้ความเข้าใจในขณะให้คำปรึกษา
      11-13 - การออกแบบระเบียบวิธีวิจัย
      - การเรียบเรียงเนื้อหาในส่วน “การดำเนินการวิจัย” ของเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      81
      • K1: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนาของหลักสูตร


      สื่อ
      - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - ตัวอย่างบทความปริทัศน์

      วิธีการประเมิน
      - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำ (เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ที่ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญและได้รับการอนุมัติ
      14-15 - การแก้ไขและเรียบเรียงเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - การเสนอเค้าโครงต่อผู้เชี่ยวชาญ
      - การเสนอขออนุมัติเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      54
      • K1: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K2: สามารถทำการวิจัยโดยบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถประยุกต์ใช้ในการกำหนดนโยบายและแก้ไขปัญหาสังคม ทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ
      • K3: มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวางในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัย ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปในสาขาวิชา
      • K4: ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ
      • S1: สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เฉพาะเรื่องในสาขาสังคมวิทยา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาของตนเพื่อพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆได้อย่างมีนัยสำคัญ
      • S2: สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยที่สำคัญในเรื่องที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง โดยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่
      • C1: มีภาวะผู้นำ มีความสามารถสูงในการแสดงความเห็น อภิปรายข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการในเวทีวิชาการได้อย่างมีหลักการและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพเดียวกัน
      • C2: มีความรับผิดชอบและสามารถวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองและองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการทำงานระดับสูงได้
      กิจกรรม
      - การให้นักศึกษาจัดทำเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าในการทำดุษฎีนิพนธ์ในการสัมมนาของหลักสูตร

      สื่อ
      - ตัวอย่างเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์
      - ตัวอย่างบทความปริทัศน์

      วิธีการประเมิน
      - ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายให้ทำ (เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ที่ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญและได้รับการอนุมัติ
      รวมจำนวนชั่วโมง 405 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      ผลงานการทำดุษฎีนิพนธ์ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
        สัปดาห์ที่ 15 ของภาคการศึกษา 1,2,3, และ 4

        48 หน่วยกิต
        การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์
          100 ภายใน 45 วันหลังจากประเมินผลการทำดุษฎีนิพนธ์ได้ S ครบ 48 หน่วยกิต ประเมินการสอบตามเกณฑ์ที่คณะกำหนด

          Excellent (90-100) Good (80-89) Pass (70-79) Failed
          การได้รับการยอมรับ หรือการได้ตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ
            ภายใน 1 ปีหลังการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ ต้องเป็นบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์/ หรือได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานของหลักสูตรและหรือมหาวิทยาลัย

            เป็นเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษา
            สัดส่วนคะแนนรวม 100
            9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
                 Textbook and instructional materials
            ประเภทตำรา
            Type
            รายละเอียด
            Description
            ประเภทผู้แต่ง
            Author
            ไฟล์
            File
            หนังสือ หรือ ตำรา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือและหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
            หนังสือ หรือ ตำรา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ.
            หนังสือ หรือ ตำรา ระเบียบและประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยและของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์
            10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
                 Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
            การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
            Evaluation of course effectiveness and validation
            • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
            การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
            Improving Course instruction and effectiveness
            • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
            ผลการเรียนรู้
            Curriculum mapping
            1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2

            รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) สำหรับหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา (ปรับปรุง 2560)

            1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
            1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการ/วิชาชีพ
            1.2 มีการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้แก่การมีวินัย ซื่อสัตย์รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ

            2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
            2.1 มีความรูความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยา และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ หรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
            2.2 สามารถทำการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพไดอย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ ๆ ได้
            2.3 มีความรูความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชารวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

            3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
            3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
            3.2 สามารถดำเนินโครงการศึกษาที่สำคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเองและหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
            3.3 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มอย่างสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตัวเองในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้

            4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
            4.1 มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานของกลุ่ม
            4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงานในอนาคต
            4.3 มีความรับผิดชอบตามบทบาทหรือหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบได้อย่างเหมาะสม

            5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
            5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน ปัญหาทางวิชาการ
            หรือปัญหาในชีวิตประจ าวันได้
            5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร เพื่อค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง และเผยแพรหรือสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการใน
            รูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได