รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Master of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 |
-แนะนำการเรียน ข้อตกลง และการประเมินผล ตลอดจนประกาศหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์ -การค้นคว้าเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดประเด็นปัญหาของการทำวิทยานิพนธ์ -การกำหนดความสำคัญหรือหลักการและเหตุผลของงานวิจัย |
54 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Zoom meeting ในระบบ e-Learning KKU เพื่อชี้แจง แนะนำการเรียน การติดต่อและส่งงานให้แก่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ทางออนไลน์ตามที่ตกลงกับอาจารย์ของแต่ละคน และวางแผนกำหนดเวลาและรูปแบบการรายงานความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์ (2) อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการค้นคว้าเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการกำหนดความสำคัญของปัญหาในการวิจัยทาง Online ในระบบ e-Learning KKU |
|
4-6 |
-การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -การกำหนดกรอบแนวคิดในงานวิจัย |
54 |
|
(1) การให้คำปรึกษากับนักศึกษาเรื่องการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยใน Forum และ Chat ในระบบ e-Learning KKU (2) นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และส่งงานทาง Online และปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาตามช่องทางที่ได้นัดหมายกับอาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละคน |
|
7-9 |
-การกำหนดวิทยวิธีทางการวิจัย -การพัฒนาเครื่องมือ/กำหนดแนวทางการในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล |
54 |
|
(1) การให้คำปรึกษากับนักศึกษาในการกำหนดวิทยวิธีทางการวิจัย เครื่องมือการวิจัย ตลอดจนการเก็บข้อมูลในการวิจัยใน Forum และ Chat ในระบบ e-Learning KKU (2) นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และส่งงานทาง Online และปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาตามช่องทางที่ได้นัดหมายกับอาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละคน |
|
10-12 | การวิเคราะห์ข้อมูล | 54 |
|
(1) การให้คำปรึกษากับนักศึกษาในการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยใน Forum และ Chat ในระบบ e-Learning KKU (2) นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และส่งงานทาง Online ตลอดจนปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาตามช่องทางที่ได้นัดหมายกับอาจารย์ที่ปรึกษา |
|
13-15 | การเรียบเรียงผลการวิเคราะห์ข้อมูล | 54 |
|
(1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้คำแนะนำและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการนำเสนอความก้าวหน้าตามกำหนดเวลาที่นัดหมาย และการวิพากษ์ของอาจารย์และนักศึกษาในหลักสูตร (2) การเผยแพร่วิทยานิพนธ์ในการประชุมทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ หรือการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 270 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การทบทวนวรรณกรรม/การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 2-4 |
การพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อรายงานความคืบหน้าในการวิจัย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 5, 10 |
วิธีดำเนินการวิจัยเพื่อรายงานความคืบหน้าในการวิจัย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 6-9 |
การเรียบเรียงงานวิจัย |
|
20 | สัปดาห์ที่ 11-14 |
การรายงานความก้าวหน้า/การนำเสนอผลงาน การตีพิมพ์ |
|
20 | สัปดาห์ที่ 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
จรัลวิไล จรูญโรจน์, ม.ล. (2559). ภาษาในปริบทสังคมและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). การวิเคราะห์ข้อความ. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2553). การวิจัยทางภาษาไทย : หลักการและวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพทางภาษาไทย ไทยศึกษา ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วัฒนธรรมศาสตร์ และศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย.กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นภาลัย สุวรรณธาดา, สุมาลี สังข์ศรี, ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และธิดา โมสิกรัตน์. (2548). การเขียนผลงานวิชาการ และ บทความ. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นววรรณ พันธุเมธา. (2558). ไวยากรณ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). คู่มือการวิจัย การเขียนรายงาน การวิจัยและวิทยานิพนธ์. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปรีชา ช้างขวัญยืน (บรรณาธิการ). (2548). เทคนิคการเขียนและผลิตตำรา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ไพโรจน์ วิไลนุช. (2561). การวิเคราะห์การสนทนา วิธีวิทยาการวิจัยการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ลำปาง แม่นมาตย์ และคนอื่นๆ. (ปรับปรุงและเรียบเรียง). (2550). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์ 2550. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | KKU e-Learning: HS647 899 วิทยานิพนธ์ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (http://bit.ly/CUIRTheThaiLangth) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
คลังปัญญาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวิชาการ ชุดการเรียนการสอน (https://cuir.car.chula.ac.th) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
คลังทรัพยากรดิจิทัลจากหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : วิทยานิพนธ์ หนังสือออนไลน์ (https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Thai Journal Online (ThaiJO) ระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย (https://www.ti-thaijo.org) |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ศูนย์ข้อมูลการวิจัย Digital (วช.) (https://dric.nrct.go.th/index.php?/Index) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Research Gateway Common Service สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (https://www.researchgateway.in.th/) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้