รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
Doctor of Philosophy
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | มอบหมายงานและกำหนดข้อตกกลงระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาเพื่อทำดุษฎีนิพนธ์ตามขั้นตอน | 3 |
|
อาจารย์ที่ปรึกษาพบนักศึกษาผ่านช่องทางการเรียนออนไลน์ โปรแกรม ZOOM, Google Meet หรือสื่อสังคมออนไลน์อื่น ๆ เพื่อทำความเข้าใจขั้นตอนการทำดุษฎีนิพนธ์ มอบหมายงาน การเสนอผลความก้าวหน้ ตลอดจนการประเมินให้หน่วยกิตดุษฎีนิพนธ์ | |
1-5 | การวิพากษ์ดุษฎีนิพนธ์ ก่อนการสอบป้องกัน | 15 |
|
นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมกันเสนอผลการทำดุษฎีนิพนธ์ต่อผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและได้รับข้อเสนอแนะเพื่อเสนอสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ | |
1-14 | นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์และมีอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ | 42 |
|
นักศึกษาทำดุษฎันิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำผ่านระบบการเรียนออนไลน์ และการส่งการทำดุษฎีนิพนธ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตามขั้นตอน | |
1-14 | นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์และมีอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ | 42 |
|
นักศึกษาทำดุษฎันิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำผ่านระบบการเรียนออนไลน์ และการส่งการทำดุษฎีนิพนธ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตามขั้นตอน | |
1-14 | นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์และมีอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ | 42 |
|
นักศึกษาทำดุษฎันิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำผ่านระบบการเรียนออนไลน์ และการส่งการทำดุษฎีนิพนธ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตามขั้นตอน | |
2-3 | เสนอเค้าโครงดุษฎนิพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา | 6 |
|
พบนักศึกษาผ่าน Zoom เพื่อพัฒนาเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์และเตรียมเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อวิพากษ์เค้าโครง | |
4-6 | อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาปรับแก้เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ | 9 |
|
พบนักศึกษาผ่าน Zoom เพื่อปรับแก้ดุษฎิพนธ์ตามงานที่ได้รับมอบหมาย | |
6-15 | ดำเนินการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ | 30 |
|
หลักสูตร จัดการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ | |
7-8 | เสนอดุษฎีนิพนธ์ต่อผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเพื่อวิพากษ์เค้าโครง | 6 |
|
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก พบกันผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อวิพากษ์เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ | |
9 | สอบเค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ | 3 |
|
||
10-14 |
ดำเนินการทำดุษฎีนิพนธ์โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำและข้อเสนอ และเข้าฟังบรรยายที่หลักสูตรจัดให้ |
18 |
|
หลักสูตรกำหนดให้นักศึกษาต้องเข้ารับการอบรมในหัวข้อต่อไปนี้ ทางออนไลน์ (ZOOM) - จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ - การสืบค้นบทความที่เกี่ยวข้องในวารสารที่อยู่ในฐาน TCI, SCOPUS,ISI - การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์อย่างมีคุณภาพ - การนำเสนอผลการวิจัยในการประชุมระดับชาติและนานาชาติ - ประเด็นวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมไทย และหัวข้ออื่น ๆ ที่หลักสูตรเชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยายตามความเหมาะสม |
|
15 | นำเสนอความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ ต่อกรรมการบริหารหลักสูตร | 3 |
|
นักศึกษานำเสนอผลความก้าวหน้าการทำดุษฎีพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร ผ่านทาง VDO Conference program Zoom or Google Meet พร้อมเอกสารและหลักฐานความก้าวหน้า พร้อมทั้งนำเสนอแบบปากเปล่า ประกอบpower point ตลอดจนผลการดำเนินงานดุษฎีนิพนธ์ลักษณะอื่น ๆ เช่น บทความวิจัย | |
15 | รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร | 3 |
|
นักศึกษานำเสนอผลความก้าวหน้าการทำดุษฎีพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร ในชั้นเรียน หรือ ผ่านทาง VDO Conference program Zoom or Google Meet พร้อมเอกสารและหลักฐานความก้าวหน้า พร้อมทั้งนำเสนอแบบปากเปล่า ประกอบpower point ตลอดจนผลการดำเนินงานดุษฎีนิพนธ์ลักษณะอื่น ๆ เช่น บทความวิจัย | |
15 | รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร | 3 |
|
นักศึกษานำเสนอผลความก้าวหน้าการทำดุษฎีพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร ในชั้นเรียน หรือ ผ่านทาง VDO Conference program Zoom or Google Meet พร้อมเอกสารและหลักฐานความก้าวหน้า พร้อมทั้งนำเสนอแบบปากเปล่า ประกอบpower point ตลอดจนผลการดำเนินงานดุษฎีนิพนธ์ลักษณะอื่น ๆ เช่น บทความวิจัย | |
15 | รายงานความก้าวหน้าการทำดุษฎีนิพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร | 3 |
|
นักศึกษานำเสนอผลความก้าวหน้าการทำดุษฎีพนธ์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการบริหารหลักสูตร ในชั้นเรียน หรือ ผ่านทาง VDO Conference program Zoom or Google Meet พร้อมเอกสารและหลักฐานความก้าวหน้า พร้อมทั้งนำเสนอแบบปากเปล่า ประกอบpower point ตลอดจนผลการดำเนินงานดุษฎีนิพนธ์ลักษณะอื่น ๆ เช่น บทความวิจัย | |
รวมจำนวนชั่วโมง | 228 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำดุษฎีนิพนธ์ |
|
การประเมินเป็นไปตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น | |
- การรายงานผลการดำเนินงานความก้าวหน้าดุษฎีนิพนธ์ทระยะ 3 เดือน ต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา - หลักสูตรจัดรายงานความก้าวหน้าต่อกรรมการบริหารหลักสูตร รอบ 1 ภาคการศึกษา - ผลการสอบดุษฎีนิพนธ์ |
|
การประเมินเป็นไปตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 0 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2552). การวิจัยทางภาษาไทย : หลักการและวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพทางภาษาไทย ไทยคดีศึกษา ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วัฒนธรรมศาสตร์ และศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | มนัส สุวรรณ. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. (2555). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Caracelli, V.J. & Greene, J.C. (1993). “Data Analysis Strategies for Mixed-Method Evaluation Designs.” Educational Evaluation and Policy Analysis, 15 (2), 195-207. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. New York: Academic Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Tashakkori, A. & Teddie, C. (1998). Mixed Methodology: Combining qualitative and quantitative approaches. Thousand Oaks, CA: Sage |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | บุญยงค์ เกศเทศ. (2532). ภาษาวิทยานิพนธ์. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ลำปาง แม่นมาตย์ และคนอื่นๆ. (ปรับปรุงและเรียบเรียง). (2550). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์ 2550. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ชลธิรา สัตยาวัฒนา. (2513). การนำวรรณคดีวิจารณ์แผนใหม่แบบตะวันตกมาใช้กับวรรณคดีไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นววรรณ พันธุเมธา. (2553). ไวยากรณ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ). (2533). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคนอื่นๆ. (บรรณาธิการ). (2537). การวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยสังคมและวัฒนธรรมไทยเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: สมาคมวิจัยเชิงคุณภาพแห่งประเทศไทยร่วมกับคณะสังคมวิทยามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | นภาลัย สุวรรณธาดา, สุมาลี สังข์ศรี, ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และธิดา โมสิกรัตน์. (2548). การเขียนผลงานวิชาการและ บทความ. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปรีชา ช้างขวัญยืน (บรรณาธิการ). (2548). เทคนิคการเขียนและผลิตตำรา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). คู่มือการวิจัย การเขียนรายงาน การวิจัยและวิทยานิพนธ์. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยุทธพงษ์ กัยวรรณ์. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ระพีพรรณ พิริยะกุล. (2530). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศักดิ์ศรี ปาณะกุล ละนิรมล ศตวุฒิ. (2546). การเขียนเอกสารวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมคิด พรมจุ้ย. (2554). การเขียนโครงการวิจัย : หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). นนทบุรี: จตุพรดีไซน์. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 5.1 | 5.2 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ของแผนที่กระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรใหม่ 2560)
1. คุณธรรมและจริยธรรม
1.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นำหรือมีส่วนริเริ่มให้มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 มีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาภาษาไทยทั้งภาษาศาสตร์ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และสามารถนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาภาษาไทย รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาภาษาไทยในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชาภาษาไทย และพัฒนาความรู้หรือแนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถออกแบบและดำเนินโครงการวิจัยในหัวข้อที่ซับซ้อนได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางานของกลุ่ม
4.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทางานระดับสูงได้
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้