รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกพัฒนาสังคม
Major in Social Development
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนวคิดและการพัฒนาองค์กรชุมชน - ทำไมต้องพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่าย - แนวคิด/คำจำกัดความ “องค์กรชุมชน”ความจำเป็นในการเสริมสร้างกลุ่มประเภทของกลุ่ม - กระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่ม - การดำเนินงานกลุ่ม |
3 |
|
(1) พบนักศึกษา แนะนำการเรียนการสอน การประเมินผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (2) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือโปรแกรม Google Classroom (3) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา (5)มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหัวข้อที่จะเรียนในสัปดาห์ต่อไป |
|
2 |
กลยุทธ์การพัฒนาองค์กรชุมชน - ขั้นก่อร่างสร้างกลุ่ม - แสวงหาทางเลือกในระดับความคิด - ขั้นลงมือปฏิบัติการ - ขั้นขยายตัว - ขั้นพลังคือความสามัคคี - กลยุทธ์ที่สำคัญของการพัฒนา - องค์กรชุมชน 1.กลยุทธ์เกี่ยวกับการจัดการและการพัฒนากิจกรรม 2.กลยุทธ์เกี่ยวกับการจัดการและการพัฒนาโครงสร้างองค์กร 3.กลยุทธ์เกี่ยวกับการจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.กลยุทธ์เกี่ยวกับการจัดการและการพัฒนาทรัพยากรวัตถุ 5.กลยุทธ์เกี่ยวกับการจัดการและการพัฒนาเครือข่าย - บทเรียนเรื่องธุรกิจชุมชน - ข้อเสนอเรื่องความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาบรรยายประกอบสื่อ (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ได้ศึกษาค้นคว้าตามที่ได้รับมอบหมาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน อาจารย์ประมวลสรุปประเด็นสำคัญที่ได้อภิปรายกัน (3) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint และกรณีศึกษา (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา (5) มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าในหัวข้อต่อไป |
|
3-4 |
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่าย: และความหมาย 1. ฐานคิดเกี่ยวกับ “เครือข่าย” 2. เครือข่ายระบบความสัมพันธ์ในสังคมมนุษย์ - ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม - ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ - ความสัมพันธ์ในกระบวนการเรียนรู้ 3.ความหมายของเครือข่ายทางสังคม social network - เครือข่าย : นัยคุณค่าแห่งความสัมพันธ์ - เครือข่าย : นัยแห่งการประสานความร่วมมือ - เครือข่าย : นัยภารกิจและกระบวนการ 4. องค์ประกอบของเครือข่าย 5. ความจำเป็นในการเสริมสร้างเครือข่าย - สถานการณ์ปัญหาและสภาพแวดล้อม - การสร้างพื้นที่ทางสังคม - การประสานผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม |
6 |
|
(1) บรรยายประกอบสื่อและกรณีศึกษา (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ได้ศึกษาค้นคว้าตามที่ได้รับมอบหมาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน อาจารย์ประมวลสรุปประเด็นสำคัญที่ได้อภิปรายกัน (3) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint และกรณีศึกษา (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา (5) มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าในหัวข้อต่อไป |
|
5-6 |
การจัดการเครือข่าย - แนวคิดในการจัดการเครือข่าย - การจัดการเครือข่ายตามวงจรชีวิตเครือข่าย - กระบวนการจัดการเครือข่ายขั้น 1) ขั้นตระหนักและการก่อตัวของเครือข่าย 2) ขั้นการสร้างพันธกรณีและการบริหารเครือข่าย 3) ขั้นการพัฒนาความสัมพันธ์และการใช้ประโยชน์ 4) ขั้นการรักษาความสัมพันธ์และความต่อเนื่อง - การจัดการเครือข่ายในระดับชุมชน/หมู่บ้าน - แนวคิด/หลักการจัดการเครือข่ายในระดับชุมชน/หมู่บ้าน - ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาบรรยายประกอบสื่อ (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ได้ศึกษาค้นคว้าตามที่ได้รับมอบหมาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน อาจารย์ประมวลสรุปประเด็นสำคัญที่ได้อภิปรายกัน (3) การบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint และกรณีศึกษา (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา (5) มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าในหัวข้อต่อไป |
|
7-14 | เรียนรู้ร่วมกับองค์กรหรือสถานประกอบการ | 24 |
|
1) นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ลงปฏิบัติการภาคสนาม ศึกษาเรียนรู้ร่วมกับองค์กรที่ปฏิบัติงาน (2) อาจารย์ติดตามนิเทศพบกับเจ้าหน้าที่องค์กรและนักศึกษาเพื่อติดตามการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ของนักศึกษา ให้คำแนะนำปรึกษาเพื่อให้การเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ |
|
15 | สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ การเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่ายทางสังคม | 3 |
|
(1) นักศึกษาทำรายงานกลุ่มเพื่อสรุปการเรียนรู้จากการปกิบัติงานในองค์กร (2) จัดสัมนาโดยโปรแกรม Zoom เพื่อสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์การเรียนรู้ร่วมกัน โดยนักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม คณาจารย์สังเคราะห์ความรู้ สรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนปัญหาการลงปฏิบัติการภาคสนาม |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
50 | |
ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน |
|
20 | |
การนำเสนอรายงานการเรียนรู้จากองค์กร |
|
30 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | มานะ นาคำ.การพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่ายทางสังคม | อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ