Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS677205
ภาษาไทย
Thai name
วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
ภาษาอังกฤษ
English name
Local Literatures and Popular Culture
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความหมาย ขอบเขต พัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวัฒนธรรมกับวรรณกรรมท้องถิ่น วรรณกรรมท้องถิ่นกับวรรณกรรมไทย วัฒนธรรมประชานิยมกับการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ วัฒนธรรมประชานิยมในวรรณกรรมท้องถิ่นและสื่อร่วมสมัย
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Meaning, Scope, Development, Relation between Society, Culture and Local Literature, Local Literature and Thai Literature, Popular Culture and Communication in Age Globalization, Popular Culture in Local Literature and Contemporary Media
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Research-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 ความหมาย ขอบเขต พัฒนาการ และขนบของของวรรณกรรมท้องถิ่น 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอภิปรายกลุ่ม
      - Powerpoint
      3-4 วัฒนธรรมประชานิยม ความหมาย ขอบเขต และพัฒนาการ 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปรายกลุ่ม
      - Powerpoint
      5-6 ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวัฒนธรรมกับวรรณกรรม
      ท้องถิ่น
      6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปราย
      - Powerpoint
      7-8 วรรณกรรมท้องถิ่นกับวรรณกรรมไทย ุ6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปรายกลุ่ม
      - Powerpoint
      9-10 วัฒนธรรมประชานิยมกับการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์: บทเพลง 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปราย
      - Powerpoint
      11-12 วัฒนธรรมประชานิยมกับการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์: ภาพยนตร์ 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปรายกลุ่ม
      - Powerpoint
      13-14 วัฒนธรรมประชานิยมกับการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์: วรรณกรรมร่วมสมัย 6
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      - บรรยาย
      - การมีส่วนร่วมในการซักถาม
      - การอ่านบทความทางวิชาการ
      - การอภิปรายกลุ่ม
      - Powerpoint
      15 การนำเสนอรายงานการค้นคว้าวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      - การนำเสนอผลการค้นคว้า
      - การอภิปราย
      รวมจำนวนชั่วโมง 39 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      งานเดี่ยว: สังเขปงานวิจัยเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมประชานิยม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      30
      งานเดี่ยว: บทความและการนำเสนอบทความเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมประชานิยม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      30
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • A1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      30
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยม
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวรรณกรรมไทยในการวิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นกับวัฒนธรรมประชานิยมได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      10
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา พจมาน นิตย์ใหม่. (2550). รอยสัก: การสร้างอัตลักษณ์ที่ปรากฏบนเรือนร่างของตน. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่) สืบค้นจาก ttps://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2550/mdad0950pn_ch2.pdf อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รัชรินทร์อุดเมืองคำ. (2551). การศึกษาวรรณกรรมแนววัฒนธรรมประชานิยมเรื่องสังข์ทองฉบับต่างๆ (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม) สืบค้นจาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/id/07621979-d3b0-45cb-af96-2848d144c53b/Fulltext.pdf?attempt=2
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      วัฒนธรรมประชานิยมในสังข์ทอง.pdf
      หนังสือ หรือ ตำรา พัฒนา กิติอาษา. (2546). คนพันธุ์ป๊อบ: ตัวตนคนไทยในวัฒนธรรมสมัยนิยม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินทร.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อุกฤษฏ์ เฉลิมแสน. (). การต่อรองความเป็นอีสานบนพื้นที่สื่อดิจิทัล: การเมืองเชิงอัตลักษณ์ของเน็ตไอดอลอีสาน. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 37(1), 117-138.
      อุกฤษ.pdf
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อรุโณทัย วรรณถาวร. (2563). ลูกทุ่งสัปดน: ส่องเพลง "ทะลึ่ง" อผ่านแว่น "วัฒนธรรมประชา". วารสาร สาร สื่อ ศิลป์. 3(5), 21-35. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      อรุโณทัย วรรณถาวร.pdf
      หนังสือ หรือ ตำรา สุริยา สมุทคุปติ์, พัฒนา กิติอาษา และ ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2541). แต่งองคทรงเครื่อง “ลิเก” ในวัฒนธรรม
      ประชาไท. นครราชสีมา: หองไทยศึกษานิทัศน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อรวรรณ ชมดง และ อรทัย เพียยุระ. (2557). ผู้หญิงกับวัฒนธรรมประชาที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่งไทย.
      วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 3(2), 77-98.
      อาจารย์ภายในคณะ
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ประยุทธ วรรณอุดม. (2549). กระบวนการต่อรองของหมอล าและผู้ชมหมอล าที่มีต่อบทบาทและอิทธิพลของ
      ระบบอุตสาหกรรมวัฒนธรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
      มหาวิทยาลัย.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ เปรม สวนสมุทร. (2547). ผู้เสพกับการดัดแปลงเนื้อหาและตัวละครเรื่องพระอภัยมณีในวัฒนธรรมประชานิยม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาภาษาไทย. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ปรมาภรณ์ ลิมเลิศเสถียร. (2557). พลวัตของสำนวนสุภาษิตไทยในยุควัฒนธรรมสมัยนิยม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 34(4), 201-208. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวิต. (2550). วัฒนธรรม การสื่อสาร และอัตลักษณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)