Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS614761
ภาษาไทย
Thai name
การศึกษาเฉพาะเรื่องทางภาษาและวรรณกรรมไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
Case Study in Language and Thai Literary Works
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกิต บัวขาว
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกิต บัวขาว
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การวิเคราะห์ อภิปรายความรู้ทางภาษาและวรรณกรรมไทย ปฏิบัติการศึกษาประเด็นสำคัญด้านภาษา วรรณกรรม คติชน ภาษาไทยประยุกต์เพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับชาวต่างชาติ และการนำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบโครงงาน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Analysis, discussion on Thai language and Thai literary works; study of significant issues in language, literary works, folklore, applied Thai language for communication, Thai language study as a foreign language, Thai language and culture for foreigners, and presentation of project-based studies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 ชี้แจงรายละเอียดการเรียนและทบทวนความรู้เกี่ยวกับการวิจัย 3 0
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    บรรยาย เรื่องการวิจัยทางภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    2-3 สำรวจองค์ความรู้เกี่ยวกับภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยาในประเด็นเฉพาะที่สนใจ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    4-5 การเขียนเค้าโครงการศึกษาทางด้านภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    6-7 แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางด้านภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    8-9 การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    10-11 การนำเสนอผลการศึกษา วิธีพรรณนาวิเคราะห์ การทำแผนภูมิ และตารางผลการศึกษา 6
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    12 สรุปและอภิปรายผลการศึกษาทางด้านภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา 3
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    13 นำเสนอผลการศึกษาทางด้านภาษา การวิพากษ์ผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    14 นำเสนอผลการศึกษาทางด้านวรรณกรรม การวิพากษ์ผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    15 นำเสนอผลการศึกษาทางด้านคติชนวิทยา การวิพากษ์ผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    เล่มงานวิจัยกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ วิพากษ์ และสรุปผลการวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    40
    การนำเสนองานกลุ่ม
      20
      ทดสอบเดี่ยว
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องวิธีการศึกษาวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย
      • E1: นักศึกษามีความซื่อสัตย์และไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการ
      20
      การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      10
      ความก้าวหน้าในการวิจัยและการมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      10
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ทองสิมา อรพินท์ คำสอน จักรนาท นาคทอง. 2552. รายงานผลการวิจัยกลุ่มกรณีศึกษาการสร้างและการวิจารณ์วรรณกรรมในพื้นที่อินเตอร์เน็ต (1 เมษายน – 30 กันยายน 2552) โครงการวิจัยการวิจารณ์ในฐานะปรากฏการณ์ของสังคมร่วมสมัยเพื่อพัฒนาความรู้สังคมศาสตร์แห่งการวิจารณ์ ภาค 2 หน้า 19-22. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา กุสุมา รักษมณี. 2546. การวิจัยด้านวรรณกรรมไทย: จุดประกายให้สร้างสรรค์. เรียบเรียงจากการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง การวิจัยทางภาษาและวรรณกรรมไทย: จุดประกายให้สร้างสรรค์. 22 กรกฏาคม 2546. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ธีระ รุ่งธีระ. 2555. ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับภาษาในงานวิจัยด้านวรรณกรรมไทยร่วมสมัยระหว่าง พ.ศ. 2533-2552: การสำรวจภาพรวม. มนุษยศาสตร์ ปีที่ 19(2) ก.ค.-ธ.ค. 2555. หน้า 207-243. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ปรมินท์ จารุวร.2559. คติชนกับการท่องเที่ยวหมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา อุมารินทร์ ตุลารักษ์. 25457. บททำขวัญเรือและพิธีทำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้: การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ณ ถลาง. 2563.ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. คติชนสร้างสรรค์: บริบททางสังคมและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง. วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 42 (2) ธ.ค. 2556: หน้า 1-74. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      ศิราพร คติชนสร้างสรรค์.pdf
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิริพร ภักดีผาสุข. นิทานในหนังสือนิทานแนว edutainment ภาษาไทย: การศึกษาพลวัตของนิทานในปริบทสังคมไทยร่วมสมัย. วารสารอักษรศาสตร ปที่ 42 (2) ธ.ค. 2556. หน้า 259-303.
      ศิริพร ภักดีผาสุข หนังสือนิทานแนว.pdf
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. ความเชื่อเรื่องพระอุปคุตปราบมาร: การสืบทอดและการผลิตซ้ำในสังคมไทยปัจจุบัน.วารสารอักษรศาสตร ปที่ 42 ฉบับที่ 2 (2556): 219-258. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ประคอง นิมมานเหมินท์. 2543. นิทานพื้นบ้านศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา จรัลวิไล จรูญโรจน์. 2556. เทคนิคการวิจัยทางภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 25480. ภาษาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ขนิษฐา ใจมโน. การสังเคราะห์และแนวโน้มการวิจัยด้านภาษาศาสตร์สังคม. วารสารมังรายศาสตร์. ปีที่ 7 (1) ม.ค.-มิ.ย. 2562. หน้า 71-90. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      ขนิษฐา ใจมโน การสังเคราะห์และแนวโน้มการวิจัย.pdf
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ และศวรนีย์ สรรคบุรานุรักษ์ (บรรณาธิการ).2553. รวมบทความนำเสนอในการประชุมวิชาการโครงการไวยากรณ์ไทยฉบับครอบคลุมภาษาย่อย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2556. วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ : แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง และสรัญญา เศวตมาตย์. 2544. ทฤษฎีไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เอเอ๊สพี. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      GramTheory.pdf
      หนังสือ หรือ ตำรา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2556. ภาษาศาสตร์สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      SocioLing.pdf
      หนังสือ หรือ ตำรา จันทิมา อังคพณิชกิจ. การวิเคราะห์ข้อความ. พิมพ์ครั้งที่2 แก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ณัฐปคัลภ์ อัครภูริณาคินทร์. กลวิธีการเล่าเรื่อง และการใช้ภาษาภาพยนตร์ ในภาพยนตร์ที่กำกับโดย หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ ปีที่ 24 (3) ก.ย.-ธ.ค. 2563. หน้า 207-219. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      กลวิธีการเล่าเรื่องและภาษาในภาพยนตร์.pdf
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อรวรรณ ชมดง และอรทัย เพียยุระ. เพศวิถีและสังคมไทยในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่ง. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. ปีที่ 3 (2) ก.ค.- ธ.ค. 2557. 77-98. อาจารย์ภายในคณะ
      อรวรรณ ชมดง อรทัย เพศวิถี.pdf
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
      1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
      1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
      1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
      2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
      2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
      2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
      2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
      3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
      3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
      3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
      4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
      5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
      5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
      5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ